logo_new.jpg

คือ "ซาหวิ่น คาลานาย" นักค้าแห่งทะเลจีนใต้
On Sahuynh-Kalanay, The South Sea Trader


(bunchar.com เพื่อแผ่นดินเกิด 20200109_1)

 

      พอดีเจอนี้ ของคุณ Walailak Songsiri ที่เพิ่งโพสต์ประกอบกับกำลังนี้ ก็กำลังไล่เรื่องนี้เป็นการทบทวนความรู้อยู่ก็ขออนุญาตแชร์มา ที่นี้ครับผม

... The SouthChina Sea has been one of the
world’s busiest zones of cross-regional commerce, at least since the Iron Age if not much earlier. During the operation of the so-called Sa Huynh- Kalanay Interaction Sphere, about 500BCthroughAD100, sites in both Mainland and Island Southeast Asia shared distinctive styles of pottery, precious-stone and baked-clay jewelry, and other tangible markers of a sea-crossing trading network. Upon closer examination, the evidence from Vietnam and the Philippines suggests origins of cross-regional exchange at least as early as 1500 BC. Over time, different items were mobilized into systems that emphasized the same long-distance contact nodes in shifting configurations, creating complicated and evolving networks.Herewe consider how trading partnershipswere formed and maintained over successive generations and centuries, made possible by social and economic networking across the South China Sea. // Coastal Connectivity: Long-Term Trading Networks Across the South China Sea
Hsiao-chun Hung,1 Kim Dung Nguyen,2 Peter Bellwood,3 and Mike T. Carson4

      จากฝั่งตะวันตกแล้วก็มาดูฝั่งตะวันออก / มันยุ่งตรงนี้หละเพราะต้องทำความเข้าใจทั้งสองพื้นที่ ซึ่งแสนจะกว้างขวางบทความนี้พวกเขามีแรงบันดาลใจมาจากงานอันคลาสสิคของ Braudel เรื่อง Mediter ranean Sea เหมือนกับที่อาจารย์ธิดาเขียนเรื่องปวศ.มหาสมุทรอินเดียก็เช่นกันที่จริงซ่าหวิงก์กับคาลานายนั้นต่างกันในลวดลายแม้รูปแบบภาชนะจะใกล้เคียงกันมาก แต่ไสตล์การขีดลายนั้นชัดเจนว่าไม่เป็นแบบเดียวกับซ่าหวิงก์แน่ แต่คาลานายนั้นคล้ายกับี่พบจากสามแก้ว โดยไม่ใช่ซ่าหวิงก์สักเท่าไหร่ / สิ่งที่น่าจะไปเช็คอีกจุดคือด่านช้าง เห้อ.. รวมเอาทั้ง pot sheards อินเดียและของเลียนแบบดองเซินและซ่าหวิงก์ไว้พร้อม / ภาคกลางต่อชายฝั่งเวียดนามแบบฟุงเหวีงยนไว้ชัดเจน ก่อนยุคเหล็กราว 1500-1000 BC เป็นเรื่องของจากชายฝั่งแล้วก็เข้ามาสู่บ้านเมืองภายใน

ขอบคุณยาวไปถึงทั้ง อ.เซี่ยว ชุง หุง, อ.คิม ดุง เหงียน, อ.เบลวู๊ด และ ไมค์ คาร์สัน
ที่เคยพบกันนานมากแล้วครับ

๙ มค.๖๓ ๐๘๐๘ น.
บ้านท่าวัง สะพานควาย กทม.

 

Joomla templates by a4joomla
rtp slot https://www.sidiap.org/rtp-live-slot//